มีสัญลักษณ์ในไดอะแกรมของวงจรดังภาพด้านล่าง
ตัวต้านทานในงานจริงมีหลายชนิดให้เลือก ด้านล่างคือแบบที่พบบ่อย
ลักษณะการต่อใช้งานที่พบบ่อยมี สองแบบ
1การต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรม คือการต่อ ขา ด้านหนึ่ง ไปเชื่อมกับ ขาด้านหนึ่งของอีกตัวหนึ่ง
ผลลัพธ์ที่ได้คือ ค่าความต้าน จะเท่ากับ ความต้านทานแต่ละตัวมารวม กัน R รวม = R1+ R2
ในกรณี ที่มี R3 มาต่อเพิ่ม R รวม = R1+ R2 + R3 เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
*การต่อแบบอนุกรม ค่ากระแสที่ไหลผ่าน ตัวต้านทานจะเท่ากันทุกตัว แต่ ค่าโวลต์จะแบ่งกันตามอัตราส่วนของค่าความต้านทานแต่ละตัวแต่ละตัว
2 การต่อตัวต้านทาน แบบขนาน คือการเชื่อม ต่อขาทั้งสอง จากทั้งสองตัวเข้ากัน
ผลลัพธ์ที่ได้คือ ค่าความต้าน จะมีค่าลดลง แต่การคำนวณนั้นจะยุ่งยากนิดหน่อยไม่ขอกล่าวรายละเอียด แต่ที่ควรรู้คือ การต่อแบบขนาน ค่าโวลต์ที่ตัวต้านทานรับจะเท่ากันทุกตัว แต่กระแสที่ผ่านแต่ละตัวจะไม่เท่ากัน ขึ้นกับค่าต้านทานของแต่ละตัว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น